_id ปีงบประมาณ หน่วยงาน ตัวชี้วัด รหัสตัวชี้วัด แผนปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติการประเมินผล เป้าประสงค์ น้ำหนัก (ร้อยละ) คำอธิบาย เกณฑ์การให้คะแนน1 คำอธิบายเกณฑ์ 1 เกณฑ์การให้คะแนน 2 คำอธิบายเกณฑ์2 เกณฑ์การให้คะแนน3 คำอธิบายเกณฑ์ 3 เกณฑ์การให้คะแนน4 คำอธิบายเกณฑ์4 เกณฑ์การให้คะแนน5 คำอธิบายเกณฑ์5 เงื่อนไข หน่วยวัด เป้าหมายปีปัจจุบัน ข้อมูลย้อนหลัง 1 ปี ข้อมูลย้อนหลัง 2 ปี ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี แหล่งข้อมูล สถานะตัวชี้วัด ผลไตรมาส 3 รายละเอียดไตรมาส 3 คะแนนไตรมาส 3 ถ่วงน้ำหนักไตรมาส 3 สถานะผลไตรมาส 3 1 2566 6 ร้อยละความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม.1 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และประเด็นข้อโต้แย้งในเบื้องต้น และนำเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฯ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการฯ การดำเนินการมีกระบวนการและขั้นตอน อาทิ การพิจารณาในเบื้องต้นของเลขานุการ การจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา โดยนำมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจทำคำวินิจฉัยอุทธรณ์ 60 ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละ 60 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 70 ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละ 70 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 80 ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละ 80 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 90 ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละ 90 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 100 ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละ 100 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด นับเรื่องเข้าตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2565 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2566 ร้อยละ 100 80 80 80 เรื่องเข้าจากระบบงานสารบรรณ และเรื่องที่เสนอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองจากรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง y 100 ตั้งแต่ 1 กันยายน 2565 ถึง 30 มิถุนายน 2566 กลุ่มกฎหมายได้รับเรื่องพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง รวมทั้งสิ้น 78 เรื่อง แบ่งออกเป็น กลุ่มภารกิจด้านรายได้ 38 เรื่อง กลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน จำนวน 37 เรื่อง และกลุ่มภารกิจด้านทรัพย์สิน จำนวน 3 เรื่อง โดยกลุ่มกฎหมายสามารถเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองได้ 78 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 100 ของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 5 1 n 2 2566 6 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการประสานงานคดีหรือแก้ต่างคดี กกม.2 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินคดีในศาลยุติธรรมและศาลปกครอง มีกระบวนการในการดำเนินงานหลายขั้นตอน เนื่องจากมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี อาทิ หน่วยงานที่ผู้ถูกฟ้องคดี กระทรวงการคลัง สำนักงานอัยการ ตลอดจนศาลยุติธรรม และศาลปกครอง และการฟ้องร้องต่อสู้คดีย่อมมีผลผูกพันตามคำพิพากษาศาล การดำเนินการในเรื่องคดีจึงต้องมีกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริง แสวงหาพยานหลักฐาน และข้อกฎหมาย เพื่อใช้ประกอบการโต้แย้งและต่อสู้คดี รวมทั้งต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่ฟ้องคดีจนถึงพิพากษาคดี ซึ่งแต่ละกระบวนการจะต้องดำเนินการภายในเวลาที่กฎหมายกำหนด 60 - 65 - 70 - 75 - 80 - - ร้อยละ 80 80 80 80 สำนวนคดี y 80 ดำเนินการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อดำเนินการต่อสู้คดี โดยกลุ่มกฎหมายดำเนินการแก้ต่างต่อศาล หรือขอความอนุเคราะห์พนักงานอัยการแก้ต่างคดีภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายและที่ศาลกำหนด 5 1 n 3 2564 6 ร้อยละความสำเร็จของการเสนอเรื่องเพื่อพิจารณาต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม.1 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 30 การดำเนินการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และประเด็นข้อโต้แย้งในเบื้องต้น และนำเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฯ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการฯ การดำเนินการมีกระบวนการและขั้นตอน อาทิ การพิจารณาในเบื้องต้นของเลขานุการ การจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา โดยนำมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจทำคำวินิจฉัยอุทธรณ์ 60 _ 65 _ 70 _ 75 _ 80 _ นับเรื่องเข้าตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2563 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2564 ร้อยละ 80 ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง y 0 ไม่สามารถจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง เนื่องจากการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โดยที่กลุ่มกฎหมายได้ดำเนินการจัดทำวาระการประชุมแล้ว อยู่ระหว่างการเตรียมจัดการประชุมในแนวทางที่เหมาะสมต่อไป 1 0.3 y 4 2564 6 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการประสานงานคดีหรือแก้ต่างคดี กกม.2 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินคดีในศาลยุติธรรมและศาลปกครอง มีกระบวนการในการดำเนินงานหลายขั้นตอน เนื่องจากมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี อาทิ หน่วยงานที่ผู้ถูกฟ้องคดี กระทรวงการคลัง สำนักงานอัยการ ตลอดจนศาลยุติธรรม และศาลปกครอง และการฟ้องร้องต่อสู้คดีย่อมมีผลผูกพันตามคำพิพากษาศาล การดำเนินการในเรื่องคดีจึงต้องมีกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริง แสวงหาพยานหลักฐาน และข้อกฎหมาย เพื่อใช้ประกอบการโต้แย้งและต่อสู้คดี รวมทั้งต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่ฟ้องคดีจนถึงพิพากษาคดี 60 _ 65 _ 70 _ 75 _ 80 _ _ ร้อยละ 80 ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) _ y 0 ดำเนินการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อดำเนินการต่อสู้คดี โดยกลุ่มกฎหมาายดำเนินการแก้ต่างต่อศาล หรือขอความอนุเคราะห์พนักงานอัยการแก้ต่างคดีภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายและที่ศาลกำหนด 1 0.2 y 5 2563 6 ร้อยละความสำเร็จของการเสนอเรื่องเพื่อพิจารณาต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม.1 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 30 การดำเนินการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และประเด็นข้อโต้แย้งในเบื้องต้น และนำเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฯ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการฯ การดำเนินการมีกระบวนการและขั้นตอน อาทิ การพิจารณาในเบื้องต้นของเลขานุการ การจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา โดยนำมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจทำคำวินิจฉัยอุทธรณ์ 60.0 _ 65.0 _ 70.0 _ 75.0 _ 80 _ สิงหาคม 2562 - สิงหาคม 2563 ร้อยละ 80 ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) _ y 80 ดำเนินการเสร็จร้อยละ 80 5 1.5 y 6 2563 6 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการประสานงานคดีหรือแก้ต่างคดี กกม.2 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินคดีในศาลยุติธรรมและศาลปกครอง มีกระบวนการในการดำเนินงานหลายขั้นตอน เนื่องจากมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี อาทิ หน่วยงานที่ผู้ถูกฟ้องคดี กระทรวงการคลัง สำนักงานอัยการ ตลอดจนศาลยุติธรรม และศาลปกครอง และการฟ้องร้องต่อสู้คดีย่อมมีผลผูกพันตามคำพิพากษาศาล การดำเนินการในเรื่องคดีจึงต้องมีกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริง แสวงหาพยานหลักฐาน และข้อกฎหมาย เพื่อใช้ประกอบการโต้แย้งและต่อสู้คดี รวมทั้งต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่ฟ้องคดีจนถึงพิพากษาคดี 60.0 _ 65.0 _ 70.0 _ 75.0 _ 80 _ _ ร้อยละ 80 ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) ระดับ 5 (ร้อยละ 80) _ y 100 ดำเนนิการเสร็จร้อยละ 100 5 1 y 7 2565 6 ร้อยละความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม.1 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 30 การดำเนินการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีอำนาจหน้าที่ในการพิจารณาข้อเท็จจริง ข้อกฎหมาย และประเด็นข้อโต้แย้งในเบื้องต้น และนำเสนอเข้าที่ประชุมคณะกรรมการฯ พร้อมเสนอความเห็นต่อคณะกรรมการฯ การดำเนินการมีกระบวนการและขั้นตอน อาทิ การพิจารณาในเบื้องต้นของเลขานุการ การจัดประชุมคณะกรรมการฯ เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา โดยนำมติที่ประชุมคณะกรรมการฯ เสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจทำคำวินิจฉัยอุทธรณ์ ความสำเร็จของการเสนอเรื่องต่อคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีจำนวนคิดเป็นอัตราร้อยละของเรื่องอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งหมด 60 - 65 - 70 - 75 - 80 - นับเรื่องเข้าตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน 2564 ถึงวันที่ 31 สิงหาคม 2565 ร้อยละ 80 80 80 80 เรื่องเข้าจากระบบงานสารบรรณ และเรื่องที่เสนอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองจากรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง y 86 รับเรื่องพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมาทั้งหมด 15 เรื่อง สามารถเสนอคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองได้ 13 เรื่อง คิดเป็นร้อยละ 86 5 1.5 y 8 2565 6 ร้อยละความสำเร็จของการดำเนินการประสานงานคดีหรือแก้ต่างคดี กกม.2 1 1 1 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินคดีในศาลยุติธรรมและศาลปกครอง มีกระบวนการในการดำเนินงานหลายขั้นตอน เนื่องจากมีหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในการดำเนินคดี อาทิ หน่วยงานที่ผู้ถูกฟ้องคดี กระทรวงการคลัง สำนักงานอัยการ ตลอดจนศาลยุติธรรม และศาลปกครอง และการฟ้องร้องต่อสู้คดีย่อมมีผลผูกพันตามคำพิพากษาศาล การดำเนินการในเรื่องคดีจึงต้องมีกระบวนการแสวงหาข้อเท็จจริง แสวงหาพยานหลักฐาน และข้อกฎหมาย เพื่อใช้ประกอบการโต้แย้งและต่อสู้คดี รวมทั้งต้องดำเนินการตามขั้นตอนที่กฎหมายกำหนดตั้งแต่ฟ้องคดีจนถึงพิพากษาคดี 60 - 65 - 70 - 75 - 80 - ร้อยละ 80 80 80 80 สำนวนคดี y 5 ดำเนินการรวบรวมข้อเท็จจริงและพยานหลักฐานเพื่อดำเนินการต่อสู้คดี โดยกลุ่มกฎหมาายดำเนินการแก้ต่างต่อศาล หรือขอความอนุเคราะห์พนักงานอัยการแก้ต่างคดีภายในกำหนดเวลาตามกฎหมายและที่ศาลกำหนด 1 0.2 y 9 2566 6 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 กกม.3 1 1 2 สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ใช้บริการ 15 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 80 78.64 74 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 n 10 2564 6 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 กกม.3 1 1 2 - 10 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 74 78.8 73.64 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 11 2563 6 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 กกม.3 1 1 2 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 10 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68.0 - 71.0 - 74.0 - 77.0 - 80 - - ร้อยละ 80 78.8 73.64 - ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 12 2565 6 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 กกม.3 1 1 2 สร้างความพึงพอใจให้แก่ผู้ใช้บริการ 10 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 78.64 74 78.8 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 13 2566 6 ร้อยละของความสำเร็จของการจัดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ กกม. 4 1 1 3 พัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจด้านกฎหมาย 30 เดิมมีการจัดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองในรูปแบบกระดาษ ส่งผลให้ต้องใช้เวลาในการค้นหาเอกสาร และบางครั้งเอกสารอาจจะชำรุดหรือสูญหาย รวมถึงพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสารที่จำกัด เป็นเหตุให้เอกสารกระจัดกระจาย กกม. จึงได้จัดเก็บรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์แทน สามารถลดระยะเวลาในการค้นหาข้อมูลเอกสาร ลดปริมาณการใช้กระดาษ และลดพื้นที่ในการจัดเก็บเอกสาร โดยการสแกนเอกสารและจัดเก็บบนฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) หรือระบบ กูเกิล ไดรฟ์ (Google Drive) 60 - 70 - 80 - 90 - 100 - จัดเก็บรายงานการประชุมในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ถึงปัจจุบัน ร้อยละ 100 - - - รายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ที่ถูกจัดเก็บบนฮาร์ดดิสก์ (Harddisk) หรือระบบ กูเกิล ไดรฟ์ (Google Drive) y 100 ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 ถึง 30 มิถุนายน 2566 ได้มีการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองทั้งสิ้นจำนวน 188 ครั้ง แบ่งออกเป็น 1. การประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง (กลุ่มภารกิจด้านรายได้) ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2547 ถึง 30 มิถุนายน 2566 จำนวน 97 ครั้ง 2.การประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง (กลุ่มภารกิจด้านรายจ่ายและหนี้สิน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2547 ถึง 30 มิถุนายน 2566 จำนวน 19 ครั้ง 3. การประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง (กลุ่มภารกิจด้านทรัพย์สิน) ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 ถึง 30 มิถุนายน 2566 จำนวน 33 ครั้ง และ 4. การประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง (กรณีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังเป็นผู้มีอำนาจพิจารณาคำอุทธรณ์) ตั้งแต่ปีพ.ศ. 2550 ถึง 30 มิถุนายน 2566 จำนวน 39 ครั้ง ซึ่งกลุ่มกฎหมายได้จัดเก็บเอกสารรายงานการประชุมดังกล่าวในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์แล้ว จำนวน 188 ครั้ง คิดเป็นร้อยละ 100 ของการจัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทาทางปกครองทั้งหมด 5 1.5 n 14 2564 6 ร้อยละของการใช้ QR Code ในการจัดทำเอกสารการประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม. 4 1 1 3 พัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจด้านกฎหมาย 30 กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีหน้าที่ดำเนินการจัดการประชุมเพื่อเสนอเรื่องให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองพิจารณากลั่นกรองและเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ และเนื่องจากการจัดการประชุมในแต่ละครั้ง มีระเบียบวาระและเอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาเป็นจำนวนมาก ส่งผลต่อการใช้กระดาษในการจัดทำวาระและเอกสารประกอบการประชุม เช่นเดียวกันกับขั้นตอนจัดทำรายงานการประชุมเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองพิจารณารับรอง กลุ่มกฎหมายจึงนำ QR Code มาใช้จัดส่งระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง เพื่อลดปริมาณการใช้กระดาษของหน่วยงานและเวลาในการสำเนาระเบียบวาระ เอกสารประกอบการประชุม และรายงานการประชุมของเจ้าหน้าที่ 60 _ 65 _ 70 _ 75 _ 80 _ ไม่รวมถึงวาระหรือเรื่องลับ ร้อยละ 80 ระดับ 5 (ร้อยละ 80) _ _ แฟ้มเอกสารการประชุม (หนังสือเชิญประชุมและหนังสือแจ้งเวียนรายงานการประชุมที่แนบ QR Code) ในปีงบประมาณ 2564 y 0 0 0 y 15 2563 6 ร้อยละของการใช้ QR Code ในการจัดทำเอกสารการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม.4 1 1 3 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 การดำเนินการตามนโยบายของรัฐบาลในการลดการใช้กระดาษ (paperless) 60.0 - 65.0 - 70.0 - 75.0 - 80 - ร้อยละของจำนวนครั้งในการประชุมคณะกรรมการฯ โดยไม่รวมถึงวาระ/เรื่องลับ ร้อยละ 80 _ _ _ _ y 100 ดำเนินการเสร็จร้อยละ 100 5 1 y 16 2565 6 ร้อยละของการใช้ QR Code ในการจัดทำเอกสารการประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง กกม. 4 1 1 3 พัฒนาและปรับปรุงกระบวนงานที่เกี่ยวข้องกับภารกิจด้านกฎหมาย 30 กลุ่มกฎหมายในฐานะเลขานุการคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองมีหน้าที่ดำเนินการจัดการประชุมเพื่อเสนอเรื่องให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองพิจารณากลั่นกรองและเสนอความเห็นต่อผู้มีอำนาจพิจารณาวินิจฉัยอุทธรณ์ และเนื่องจากการจัดการประชุมในแต่ละครั้ง มีระเบียบวาระและเอกสารที่ใช้ประกอบการพิจารณาเป็นจำนวนมาก ส่งผลต่อการใช้กระดาษในการจัดทำวาระและเอกสารประกอบการประชุม เช่นเดียวกันกับขั้นตอนจัดทำรายงานการประชุมเพื่อให้คณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองพิจารณารับรอง กลุ่มกฎหมายจึงนำ QR Code มาใช้ในการจัดทำระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง เพื่อลดปริมาณการใช้กระดาษของหน่วยงานและเวลาในการสำเนาระเบียบวาระ เอกสารประกอบการประชุม และรายงานการประชุมของเจ้าหน้าที่ ใช้ QR Code จัดทำเอกสารการประชุมและรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง คิดเป็นอัตราร้อยละของการจัดประชุมทั้งหมด 65 - 75 - 80 - 85 - 90 - ไม่รวมถึงวาระหรือเรื่องลับ ร้อยละ 90 80 80 - แฟ้มเอกสารการประชุม (หนังสือเชิญประชุมและหนังสือแจ้งเวียนรายงานการประชุมที่แนบ QR Code) ในปีงบประมาณ 2565 y 100 จัดประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองจำนวน 4 ครั้ง นำ QR Code มาใช้ในการจัดทำระเบียบวาระการประชุม เอกสารประกอบการประชุม และรายงานการประชุมคณะกรรมการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครอง ได้ทุกครั้ง 5 1.5 y 17 2566 6 ร้อยละของข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างชั่วคราว ที่เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ กกม. 5 2 1 4 พัฒนาและเสริมสร้างความรู้ของบุคลากร 15 ข้าราชการ/พนักงานราชการที่สังกัดกลุ่มกฎหมายต้องได้รับการสนับสนุนในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติราชการ เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในตัวบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ โดยบุคลากรจะต้องได้รับการฝึกอบรม หรือสัมมนา หรือประชุมเชิงวิชาการ ในรูปแบบออฟไลน์หรือออนไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ 40 - 50 - 60 - 70 - 80 - - ร้อยละ 80 - - - รายชื่อข้าราชการ/พนักงานราชการและหลักสูตรที่เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงวิชาการ y 100 ข้าราชการและพนักงานราชการของกลุ่มกฎหมายเข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจงแล้ว จำนวน 11 คน จากจำนวน 11 คน คิดเป็นร้อยละ 100 5 0.75 n 18 2564 6 จำนวนองค์ความรู้ที่ได้จัดทำเพื่อใช้ในการพัฒนาและเสริมสร้างความรู้ของบุคลากร กกม. 5 2 1 4 พัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้ของบุคลากร 10 ดำเนินการจัดทำองค์ความรู้ในเรื่องที่เป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติงานของบุคลากร ในสังกัด กกม. เพื่อพัฒนาและเสริมสร้างความรู้ และเพิ่มพูนทักษะในการปฏิบัติงานให้แก่บุคลากร 1 _ 2 _ 3 _ 4 _ 5 _ _ จำนวนองค์ความรู้ 5 _ _ _ กำหนดหัวข้อจากเรื่องหรือข้อกฎหมายที่เป็นประโยชน์ในการปฏิบัติงาน และจัดเก็บข้อมูลในแฟ้มเอกสารและไฟล์เอกสาร y 5 "จัดทำองค์ความรู้ครบจำนวน 5 เรื่อง ได้แก่ แนวปฏิบัติการพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งทางปกครองตามพระราชบัญญัติวิธีปฏิบัติราชการทางปกครอง พ.ศ.2539 การมอบอำนาจ การมอบหมาย การปฏิบัติราชการแทน และการรักษาราชการแทน" 5 0.5 y 19 2563 6 จำนวนข้าราชการที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี กกม.5 1 1 4 พิทักษ์รักษาผลประโยชน์ด้านกฎหมายของกระทรวงการคลัง 20 ข้าราชการที่สังกัดกลุ่มกฎหมายต้องได้รับการสนับสนุนในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติราชการ เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในตัวบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ โดยบุคลากรจะต้องได้รับการศึกษา อบรม หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการอย่างน้อยปีละ 2 ครั้ง 1.0 บุคลากรที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี จำนวน 4 คน 2.0 บุคลากรที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี จำนวน 5 คน 3.0 บุคลากรที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี จำนวน 6 คน 4.0 บุคลากรที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี จำนวน 7 คน 5 บุคลากรที่เข้าร่วม อบรมศึกษา หรือเข้าร่วมสัมมนาเชิงปฏิบัติการไม่ต่ำกว่า 2 ครั้ง ต่อปี จำนวน 8 คน _ จำนวนข้าราชการในสังกัดกลุ่มกฎมหาย 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 _ y 0 0 0 y 20 2565 6 ร้อยละของข้าราชการ/พนักงานราชการ ที่เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจง อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ กกม. 5 2 1 4 พัฒนาและเสริมสร้างความรู้ของบุคลากร 10 ข้าราชการที่สังกัดกลุ่มกฎหมายต้องได้รับการสนับสนุนในการเสริมสร้างองค์ความรู้ และทักษะในการปฏิบัติราชการ เพื่อเป็นการพัฒนาศักยภาพในตัวบุคคลให้มีความรู้ ความสามารถ และความเชี่ยวชาญ โดยบุคลากรจะต้องได้รับการฝึกอบรม หรือสัมมนา หรือประชุมเชิงวิชาการ ในรูปแบบออฟไลน์หรือออนไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ 50 - 60 - 70 - 80 - 90 - - ร้อยละ 90 - - - รายชื่อข้าราชการผู้เข้ารับการฝึกอบรม หรือสัมมนา หรือประชุมเชิงวิชาการของกลุ่มกฎหมาย y 90 ข้าราชการและพนักงานราชการของกลุ่มกฎหมายได้เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจง อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ ครบทุกคน 5 0.5 y