_id ปีงบประมาณ หน่วยงาน ตัวชี้วัด รหัสตัวชี้วัด แผนปฏิบัติราชการ ประเด็นยุทธศาสตร์ มิติการประเมินผล เป้าประสงค์ น้ำหนัก (ร้อยละ) คำอธิบาย เกณฑ์การให้คะแนน1 คำอธิบายเกณฑ์ 1 เกณฑ์การให้คะแนน 2 คำอธิบายเกณฑ์2 เกณฑ์การให้คะแนน3 คำอธิบายเกณฑ์ 3 เกณฑ์การให้คะแนน4 คำอธิบายเกณฑ์4 เกณฑ์การให้คะแนน5 คำอธิบายเกณฑ์5 เงื่อนไข หน่วยวัด เป้าหมายปีปัจจุบัน ข้อมูลย้อนหลัง 1 ปี ข้อมูลย้อนหลัง 2 ปี ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี แหล่งข้อมูล สถานะตัวชี้วัด ผลไตรมาส 1 รายละเอียดไตรมาส 1 คะแนนไตรมาส 1 ถ่วงน้ำหนักไตรมาส 1 สถานะผลไตรมาส 1 1 2566 2 ร้อยละของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี ศทส.1/2 3 3 1 การให้บริการระบบ GFMIS อย่างต่อเนื่อง 10 การดำเนินการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ GFMIS เป็นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบ GFMIS หลัก GFMIS-SOE GFMIS-TR GSMS GFMIS-Web Online และ PFMS ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบเครือข่ายสื่อสาร การจัดหาสถานที่ตั้งสำหรับศูนย์คอมพิวเตอร์หลักและศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบควบคุมการเข้าออกอาคาร การจัดหาบุคลากรในการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ และดำเนินการบำรุงรักษาทั้งด้าน Hardware และ Software โดยไม่รวมถึงการแก้ไขหรือพัฒนาเพิ่มเติมในฟังก์ชั่นการทำงานใหม่ และ SAP Module ใหม่ 1.4 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.3 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.2 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี เฉพาะในวัน เวลาราชการ 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. เท่านั้น ร้อยละ 1 1 1 1 รายงานผลการดำเนินงาน y 2 2565 2 ร้อยละของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี ศทส.1/4 3 3 1 การให้บริการระบบ GFMIS อย่างต่อเนื่อง 15 การดำเนินการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ GFMIS เป็นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบ GFMIS หลัก GFMIS-SOE GFMIS-TR GSMS GFMIS-Web Online และ PFMS ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบเครือข่ายสื่อสาร การจัดหาสถานที่ตั้งสำหรับศูนย์คอมพิวเตอร์หลักและศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบควบคุมการเข้าออกอาคาร การจัดหาบุคลากรในการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ และดำเนินการบำรุงรักษาทั้งด้าน Hardware และ Software โดยไม่รวมถึงการแก้ไขหรือพัฒนาเพิ่มเติมในฟังก์ชั่นการทำงานใหม่ และ SAP Module ใหม่ 1.4 - 1.3 - 1.2 - 1.1 - 1 - เฉพาะในวัน เวลาราชการ 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. เท่านั้น ร้อยละ 1 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 รายงานผลการดำเนินงาน y 1 การดำเนินการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ GFMIS เป็นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบ GFMIS หลัก GFMIS-SOE GFMIS-TR GSMS GFMIS-Webonline และ PFMS ทั้งส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบเครือข่ายสื่อสาร การจัดหาสถานที่ตั้งสำหรับศูนย์คอมพิวเตอร์หลัก 5 0.75 y 3 2565 2 ระดับความสำเร็จโครงการจัดทำระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ศทส.1/1.1 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 5 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยดำเนินการปรับปรุงระบบการประมวลผลข้อมูลให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีความยีดหยุ่น รองรับการขยายตัวในอนาคตและการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อกับระบบภายนอกให้สอดคล้องกับกระบวนการปัจจุบัน 1 ความพร้อมใช้ด้านระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่าย 2 ความพร้อมใช้ด้านระบบเครือข่าย 3 ความพร้อมใช้ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัย 4 ความพร้อมใช้ด้านระบบการเชื่อมโยงข้อมูลกับระบบภายนอก 5 ความพร้อมใช้ด้านระบบงาน New GFMIS Thai - ระดับ 5 - - - - y 3 ": - คณะกรรมการตรวจรับฯ มีมติในการประชุมครั้งที่ 31/2564 เมื่อวันที่ 18 ตุลาคม 2564 เห็นควรขึ้นระบบด้วยวิธี Big Bang (ขึ้นระบบพร้อมกันทุกหน่วยงาน) ในวันอังคารที่ 4 มกราคม 2565 เพื่อลดปัญหาด้านการยกยอดข้อมูลทางบัญชี ปัญหาการทางานข้ามระบบ (Cross System) และการกระทบยอดเงินคงคลัง - คณะอนุกรรมการ PMT มีมติในการประชุมครั้งที่ 6/2564 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2564 เห็นชอบแผนการขึ้นระบบ New GFMIS Thai ตามความเห็นของคณะกรรมการตรวจรับฯ คือ ขึ้นระบบด้วยวิธี Big Bang (ขึ้นระบบพร้อมกันทุกหน่วยงาน) ในวันอังคารที่ 4 มกราคม 2565 ซึ่งมีการเตรียมความพร้อมในด้านต่าง ๆ ดังนี้ การทดสอบระบบ, โครงสร้างพื้นฐาน, หนังสือแจ้งส่วนราชการเรื่องการขึ้นระบบ New GFMIS Thai และกฎระเบียบต่าง ๆ , การบริหารจัดการสิทธิ์การเข้าใช้งานระบบ , การเตรียมทีมสนับสนุน , การฝึกอบรม , คู่มือ , การยกยอดข้อมูล" 3 0.15 y 4 2565 2 ระดับความสําเร็จในการพัฒนาระบบการพิสูจน์และยืนยันตัวตนสําหรับระบบ New GFMIS Thai ศทส. 1/1.2 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 5 สํานักงานปลัดกระทรวงการคลังได้ดําเนินการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ซึ่งเป็นระบบบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐของประเทศไทย ทั้งในด้านรายรับ รายจ่าย การกู้เงิน เงินคงคลัง และมีผู้ใช้งานของหน่วยเบิกจ่ายทั่วประเทศจํานวนประมาณ 50,000 ผู้ใช้งาน ดังนั้นระบบจึงมีความจําเป็นต้องคํานึงถึงความมั่นคงปลอดภัยเป็นอย่างยิ่ง โดยระบบ GFMIS เดิมใช้อุปกรณ์ Token key สําหรับการยืนยันตัวตนในการเข้าใช้ระบบ ซึ่งปัจจุบันอุปกรณ์มีการประกาศสิ้นสุดอายุของผลิตภัณฑ์ (End-of-Life)ดังนั้น จึงจําเป็นต้องมีการปรับปรุงกระบวนการและพัฒนาระบบการลงทะเบียนและพิสูจน์ตัวตนที่เหมาะสม เป็นไปตามมาตรฐาน และมีความมั่นคงปลอดภัยสําหรับ New GFMIS Thai โดยใช้เทคโนโลยีและสิ่งที่ใช้ยืนยันตัวตนที่สอดคล้องกับแนวทางการใช้งานดิจิทัลไอดีสําหรับประเทศไทยที่มีระดับความเชื่อมั่นสูงและรองรับการขยายตัวของผู้ใช้บริการทั่วประเทศในอนาคต 1 การกำหนดขอบเขตการดำเนินงาน 2 การวิเคราะห์และออกแบบ 3 การพัฒนาและทดสอบระบบ 4 ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 5 ระบบการลงทะเบียนและพิสูจน์ตัวตน และระบบการยืนยันตัวตน - ระดับ 5 - - - - y 1 "- จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ - จัดทำแผนการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ในโครงการ - กำหนดขอบเขตการดำเนินงานโครงการ" 1 0.05 y 5 2565 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำระบบสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning Platform) ศทส. 1/1.3 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 5 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการเงินการคลัง เพื่อรองรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 - 2564 เพื่อขยายประสิทธิภาพการใช้ระบบบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ ให้ครอบคลุมผู้ใช้งานกลุ่ม อบจ. และเทศบาล ทั่วประเทศ แต่การดำเนินการด้านระบบโครงสร้างพื้นฐาน ยังไม่สามารถรองรับการทำงานของระบบสารสนเทศการเงินการคลังเพื่อรองรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที่พัฒนาขึ้นได้อย่างสมบูรณ์ ได้ตามวัตถุประสงค์อย่างมีประสิทธิภาพ และการฝึกอบรมที่มีข้อจำกัด ทั้งทางด้านผู้อบรมและสถานที่อบรม จึงจำเป็นต้องจัดหาเครื่องมือ เพื่อเพิ่มสมรรถนะผู้ใช้งานให้เหมาะสมกับสถานการณ์และรองรับการเรียนการสอนในรูปแบบใหม่ๆ ต่อไปด้วย 1 การกำหนดขอบเขตการดำเนินงาน 2 การวิเคราะห์และออกแบบ 3 การพัฒนาและทดสอบระบบ 4 ติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ 5 ระบบสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ (e-Learning Platform) - ระดับ 5 - - - - y 1 จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการเพื่อกำหนดขอบเขตการดำเนินงาน 1 0.05 y 6 2565 2 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมได้ตามเป้าหมาย ศทส. 1/2 2 5 1 เพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 10 ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ จำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสนับสนุนในการก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทุกมิติ 100 - 150 - 200 - 250 - 300 - ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่ได้รับและค่าใช้จ่ายในแต่ละหลักสูตร จำนวนคน 300 สถิติบุคลากรในสังกัดกระทรวงการคลังที่รับการอบรมหลักสูตรด้านดิจิทัล y 0 0 0 y 7 2566 2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบข้อมูลให้เป็นดิจิทัล (Digitize Data) ทั้งข้อมูลที่ใช้ภายในหน่วยงาน และข้อมูลที่จะเผยแพร่สู่หน่วยงานภายนอก/สาธารณะ เพื่อนำไปสู่การเปิดเผยข้อมูลภาครัฐ (Open Data) ศทส.1/3.1 3 1 1 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 "บัญชีข้อมูล หมายถึง เอกสารแสดงบรรดารายการของชุดข้อมูล ที่จำแนกแยกแยะโดยการจัดกลุ่มหรือจัดประเภทข้อมูลที่อยู่ในความครอบครองหรือควบคุมของหน่วยงานของรัฐ คำอธิบายข้อมูลที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กำหนด หมายถึง คำอธิบายข้อมูลส่วนหลัก (Mandatory Metadata) สำหรับชุดข้อมูลภาครัฐ เป็นส่วนที่บังคับต้องทำการอธิบายข้อมูล ประกอบด้วยคำอธิบายข้อมูล จำนวน 14 รายการสำหรับ 1 ชุดข้อมูล ที่หน่วยงานของรัฐต้องจัดทำและระบุรายละเอียด ระบบบัญชีข้อมูล คือ ระบบงานที่ทำหน้าที่บริหารจัดการบัญชีข้อมูลของหน่วยงาน เช่น CKAN หรือ อื่น ๆ ข้อมูลสาธารณะ หมายถึง ข้อมูลที่สามารถเปิดเผยได้สามารถนำไปใช้ได้อย่างอิสระไม่ว่าจะเป็นข้อมูลข่าวสาร/ข้อมูลส่วนบุคคล/ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ เป็นต้น คุณลักษณะแบบเปิด หมายถึง คุณลักษณะของไฟล์ที่ไม่ถูกจำกัดด้วยเงื่อนไขต่าง ๆ จากเจ้าของผลิตภัณฑ์ สามารถเข้าถึงได้อย่างเสรีโดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ใช้งานหรือประมวลผลได้หลากหลายซอฟต์แวร์" 1 มีรายชื่อชุดข้อมูลที่มีคุณค่าสามารถนำไปใช้ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศหรือการบริการประชาชน 2 มีคำอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) ที่สอดคล้องตามมาตรฐานที่ สพร. กำหนด (14 รายการ) ของทุกชุดข้อมูล / มีคำอธิบายทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด 3 มีระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน (Agency Data Catalog) พร้อมแจ้ง URL ระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน และ ชุดข้อมูล คำอธิบายชุดข้อมูล ถูกนำขึ้นที่ระบบบัญชีข้อมูลหน่วยงาน และระบุทรัพยากรข้อมูล (Resource) ของชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด 4 ชุดข้อมูลเปิดทั้งหมด ถูกนำมาลงทะเบียนในระบบบัญชีข้อมูลภาครัฐ (GD Catalog) 5 นำข้อมูลเปิดไปใช้ประโยชน์ได้อย่างเป็นรูปธรรม ตอบโจทย์ตามประเด็นขอบเขตการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ อย่างน้อย 1 ชุดข้อมูล ระดับ 5 - - y 8 2565 2 จำนวนชุดข้อมูลเปิดของฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลังตามกรอบธรรมภิบาลข้อมูล ศทส. 1/3 3 1 1 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 จัดทำชุดข้อมูลจากฐานข้อมูลกลางของกระทรวงการคลัง โดยนำข้อมูลเปิดเข้าสู่ระบบบัญชีข้อมูลของกระทรวงการคลัง โดยเริ่มจากทำการศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง จัดหมวดหมู่ข้อมูล จำแนกลักษณะของข้อมูล ออกเป็น ข้อมูลสาธารณะ ข้อมูลส่วนบุคคล ข้อมูลความลับทางราชการ หรือข้อมูลความมั่นคง ตามมาตรฐานกรอบกำกับดูแลข้อมูลกระทรวงการคลัง ตามประกาศคณะกรรมการรัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2563 พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐระบบดิจิทัล พ.ศ.2562 และ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 เพื่อให้เกิดการดำเนินงานที่ได้มาตรฐาน ลดความซ้ำซ้อนและขัดแย้งของข้อมูล และสามารถเป็นช่องทางให้ส่วนราชการ ภาคธุรกิจและภาคประชาชน สามารถนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ หรือ เป็นส่วนหนึ่งในการวิเคราะห์ ต่อยอดการดำเนินงานในอนาคต 1 ศึกษา และวิเคราะห์ข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 2 จัดทำรายการข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 3 จัดทำคำอธิบายชุดข้อมูล (Metadata) และพจนานุกรมข้อมูล (Data Dictionary) ทุกชุดข้อมูลที่มีในฐานข้อมูลกลาง 4 พัฒนาระบบบัญชีข้อมูลของกระทรวงการคลัง (MOF Data Catalog) 5 จำนวนชุดข้อมูลเปิดของระบบฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 20 ชุด - ระดับ 5 - - - - y 1 ศึกษา วิเคราะห์ข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 1 0.05 y 9 2566 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล กับธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย (EXIM Bank) ศทส. 1/3.2 3 1 1 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 ตามประกาศคณะกรรมการรัฐบาลดิจิทัล พ.ศ. 2563 พ.ร.บ. การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 และ พ.ร.บ. คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เป็นหน่วยงานหลักบริหารจัดการข้อมูลด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ มีความจำเป็นต้องพัฒนาระบบเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลของกระทรวงการคลัง มุ่งเน้นปรับปรุงกระบวนงานและเทคโนโลยีให้ทันสมัยและตอบสนองต่อการบริหารจัดการฐานข้อมูลขนาดใหญ่ของหน่วยงานต่าง ๆ ในสังกัดกระทรวงการคลังตามนโยบายรัฐบาลในการเชื่อมโยงและเปลี่ยนและการนำข้อมูลไปใช้ของหน่วยงานภาครัฐ ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน รักษาความเป็นส่วนบุคคล และสามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัยตามกรอบการกำกับดูแลข้อมูล มุ่งเน้นการดำเนินงานของส่วนกลางด้วยข้อมูลที่มีคุณภาพ ถูกต้องและทันต่อเวลา ทำให้การดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐมีประสิทธิภาพสูงขึ้น 1 ศึกษากฎหมาย หลักเกณฑ์ และมาตรฐานการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลที่เกี่ยวข้อง 2 กำหนดแนวทางการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล /ประสานงานและประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 3 จัดทำต้นแบบระบบงานและการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง (Prototype) 4 พัฒนาระบบเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และทดสอบระบบการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล 5 ระบบสามารถเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูลได้สำเร็จ ระดับ 5 - y 2 กำหนดแนวทางการเชื่อมโยงและแลกเปลี่ยนข้อมูล /ประสานงานและประชุมหารือกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง 2 0.1 n 10 2565 2 ระดับความสำเร็จในการจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ในโครงการเป็นไปตามเป้าหมาย ศทส.1/5 3 4 1 การใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลัง เพื่อจัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลและระบบโทรศัพท์ สำหรับให้บริการแก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลัง ให้สามารถใช้งานระบบเครือข่ายและมีระบบโทรศัพท์สำหรับติดต่อสื่อสารภายในและติดต่อกับส่วนราชการอื่นๆ ทั้งหน่วยงานภายในสังกัดกระทรวงการคลังและหน่วยงานอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง 1 จัดทำร่างขอบเขตของงานพร้อมราคากลาง, รายงานขอซื้อขอจ้างและเผยแพร่ประชาวิจารณ์ และประกาศเชิญชวนให้ผู้เสนอราคาเสนอราคาผ่านระบบ e-gp ของกรมบัญชีกลางแล้วเสร็จ 2 ลงนามในสัญญาแล้วเสร็จ 3 ส่งมอบแผนการดำเนินงานโครงการและโครงสร้างการบริหารโครงการแล้วเสร็จ 4 ส่งมอบแผนการฝึกอบรมแล้วเสร็จ 5 ส่งมอบร่างแผนผังระบบเครือข่าย (Network Diagram) สำหรับตั้งอุปกรณ์ตามโครงการและร่างแผนผังแสดงอุปกรณ์ใน Rack (Rack Layout) แล้วเสร็จ "เหตุจากปัจจัยภายนอกที่ทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างมีความล่าช้า เช่น การวิจารณ์ร่างขอบเขตของงาน, การยื่นอุทธรณ์, การจัดส่งสินค้าที่สังซื้อหรือนำเข้าจากต่างประเทศมีความล่าช้า เนื่องจากสถานะการณ์ของโรคระบาดต่างๆ เป็นต้น" ระดับ 5 เอกสารหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องกับรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาซื้อหรือจ้างงานในโครงการ เอกสารการส่งมอบและการตรวจรับงาน y 0 0 0 y 11 2566 2 ระดับความสำเร็จในการจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์ในโครงการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลังเป็นไปตามเป้าหมาย ศทส. 1/3.3 3 4 1 การใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10 "โครงการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลัง เพื่อจัดหาและติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล และระบบโทรศัพท์ สำหรับให้บริการแก่ผู้บริหารและเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลัง ให้สามารถ ใช้งานระบบเครือข่ายและมีระบบโทรศัพท์สำหรับติดต่อสื่อสารภายในและติดต่อกับส่วนราชการอื่นๆ ทั้งหน่วยงานภายในสังกัด กระทรวงการคลังและหน่วยงานอื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพและต่อเนื่อง" 1 งานติดตั้งสายสัญญาณ Fiber Optic แล้วเสร็จ 2 รับมอบคู่มือการใช้งานของอุปกรณ์ตามโครงการ 3 รับมอบอุปกรณ์ รายการตามเอกสารแนบท้าย แบบรูปรายการหรือคุณลักษณะเฉพาะ เข้าพื้นที่ 4 การติดตั้งและผลการทดสอบตามคุณลักษณะที่กำหนดของอุปกรณ์ทั้งหมดในโครงการ (ยกเว้น การติดตั้งอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สาย (Access Point)) แล้วเสร็จ 5 การติดตั้งและผลการทดสอบตามคุณลักษณะที่กำหนดของอุปกรณ์กระจายสัญญาณไร้สาย (Access Point) ทั้งหมดในโครงการแล้วเสร็จ "เหตุจากปัจจัยภายนอก เช่น การดำเนินงานโครงการก่อสร้างตกแต่งภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลังมีความล่าช้า ทำให้ ไม่สามารถดำเนินงานโครงการติดตั้งระบบเครือข่ายสื่อสารภายในอาคารที่ทำการใหม่กระทรวงการคลังได้แล้วเสร็จตามระยะเวลา ที่กำหนดในสัญญา เป็นต้น" ระดับ 5 5 เอกสารหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องกับรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาซื้อหรือจ้างงานในโครงการ เอกสารการส่งมอบและการตรวจรับงาน y 1 งานติดตั้งสายสัญญาณ Fiber Optic แล้วเสร็จ 1 0.1 n 12 2564 2 ระดับความสำเร็จการในการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ศทส.1/1 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 20 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยดำเนินการปรับปรุงระบบการประมวลผลข้อมูลให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีความยีดหยุ่น รองรับการขยายตัวในอนาคตและการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อกับระบบภายนอกให้สอดคล้องกับกระบวนการปัจจุบัน 1 ผลการทดสอบระบบงาน 2 คู่มือการตั้งค่าระบบ 3 รายงานการติดตั้งคอมพิวเตอร์ ณ ศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง (DR) 4 รายงานผลการฝึกอบรม 5 รายงานผลการ Roll out ระบบงาน - ระดับ 5 - - - ส่วนพัฒนาระบบงานประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ y 4 จัดอบรมผู้ใช้งานระบบ New GFMIS Thai จำนวน 15 รุ่น และผู้ใช้งานระบบ MIS จำนวน 3 รุ่น 4 0.8 y 13 2564 2 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมได้ตามเป้าหมาย ศทส.1/2 2 5 1 เพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 20 ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ จำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสนับสนุนในการก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทุกมิติ 100 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 150 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 200 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 250 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 300 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่ได้รับและค่าใช้จ่ายในแต่ละหลักสูตร จำนวนคน 300 381 สถิติบุคลากรในสังกัดกระทรวงการคลังที่รับการอบรมหลักสูตรด้านดิจิทัล y 0 0 0 y 14 2564 2 ระดับความสำเร็จของการดำเนินงานโครงการพัฒนาและปรับปรุงระบบบริการ Tax Single Sign On (Tax SSO) เพื่อรองรับระบบ E-FILING กรมสรรพากร ศทส.1/3 3 2 1 สร้างนวัตกรรมการบริการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 10 "สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้พัฒนาระบบบริการ Tax Single Sign On (Tax SSO) ซึ่งเป็นระบบที่ให้บริการด้านภาษีของ 3 กรมภาษี คือ กรมสรรพากร กรมสรรพสามิต และกรมศุลกากร ผ่านทางอินเทอร์เน็ต ด้วยการใช้รหัสผ่านเดียว โดยเป็น การให้บริการสำหรับกลุ่มผู้ประกอบการทั้งประเภทนิติบุคคลและบุคคล รวมถึงประชาชน ที่มีความสนใจเข้าใช้บริการดังกล่าวฯ มาตั้งแต่วันที่ 7 กันยายน 2561 จนถึงปัจจุบัน โดยจำนวนผู้สมัครเข้าใช้บริการระบบบริการ Tax Single Sign On (Tax SSO) มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นตามลำดับ และปัจจุบันพบว่ากรมสรรพากรมีการพัฒนาและปรับปรุงระบบ E-FILING ใหม่ ทำให้ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร มีความจำเป็นต้องพัฒนาและปรับปรุงระบบบริการ Tax Single Sign On (Tax SSO) ในส่วนของระบบงานส่วนกลางที่ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเป็นผู้รับผิดชอบ เพื่อใช้งานร่วมกับระบบ E-FILING ที่กรมสรรพากรพัฒนาขึ้นใหม่ เพื่อให้สามารถให้บริการระบบงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ" 1 จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ 2 จัดทำเอกสารสรุปข้อกำหนดความต้องการผู้ใช้ (Requirement Specification) 3 จัดทำเอกสารการออกแบบระบบ (Prototype) 4 พัฒนาและปรับปรุงระบบบริการ Tax Single Sign On (Tax SSO) 5 ผลการทดสอบการเชื่อมโยงระบบ E-FILING กรมสรรพากร ระดับ 5 - - - ส่วนพัฒนาระบบงานประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ y 1 จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ 1 0.1 y 15 2563 2 ระดับความสำเร็จในการจัดเตรียมข้อมูลเพื่อสนับสนุนมาตรการประชารัฐสวัสดิการ ศทส.1/1.1 3 2 1 สร้างนวัตกรรมการบริการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 10 การจัดให้มีฐานข้อมูลของประชาชนผู้มีรายได้น้อยที่ผ่านการตรวจสอบคุณสมบัติในโครงการลงทะเบียนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ เพื่อใช้ในการจัดประชารัฐสวัสดิการ การกำกับดูแล การบริหารจัดการ และการประเมินผลการดำเนินการต่อไป 1.0 กำหนดขอบเขตการดำเนินงาน 2.0 สำรวจและเก็บรวบรวมความต้องการ 3.0 วิเคราะห์และออกแบบ 4.0 ออกแบบเชิงหลักการ (Prototype) 5 ระบบฐานข้อมูลผู้มีรายได้น้อย - ระดับ 5 - - - ส่วนพัฒนาระบบงานประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ y 1 กำหนดขอบเขตการดำเนินงานการจัดทำฐานข้อมูล 1 0.1 y 16 2563 2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาฐานข้อมูลกลางโซเชียลมีเดียของกระทรวงการคลัง ศทส.1/1.2 3 1 1 สร้างนวัตกรรมการบริการด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 ปัจจุบันสื่อสังคมออนไลน์หรือโซเชียลมีเดีย (Social Media) และช่องทางดิจิทัลต่างๆ (Digital channels) ถูกใช้เป็นช่องทางในการร่วมแสดงความคิดเห็นสาธารณะที่สำคัญ และก่อให้เกิดผลกระทบวงกว้างสำหรับแต่ละภาคส่วนได้ เนื่องจากช่องทางดังกล่าวนั้นเข้าถึงได้ง่าย สามารถร่วมแสดงความคิดเห็นโต้ตอบได้ง่าย และมีกลไกที่เอื้อต่อการเผยแพร่หรือแชร์ข้อคิดเห็นข้ามไปยังช่องทางที่เกี่ยวข้องอื่นๆ ได้ง่ายอีกด้วย กรณีหากมีข้อคิดเห็นเชิงลบเกิดขึ้นในช่องทางดังกล่าวแล้ว ก็มักจะทำให้ข้อคิดเห็นนั้นถูกแพร่กระจายไปยังช่องทางอื่นๆ ได้อย่างรวดเร็ว และถ้าข้อมูลข้อคิดเห็นต่างๆ เหล่านั้น ถูกรวบรวมจัดเก็บเป็นอย่างดี จะสามารถนำมาใช้งานให้เกิดประโยชน์ในด้านการสืบค้นและรับรู้รับฟังเสียงที่มีต่อองค์กร (Voice of Cyber Social) ช่วยในการพยากรณ์และคาดการณ์ (Predict) การวางแผนเชิงกลยุทธ์ (Strategic) คัดกรองข้อมูลที่มีเนื้อหาด้านภาพลักษณ์ขององค์กรและรวมถึงสามารถใช้เพื่อเป็นการประเมินและปรับปรุงผลการดำเนินงานต่างๆ เชิงรุกในอนาคตขององค์กรได้อีกด้วย กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่กำหนดนโยบาย และกำกับดูแลด้านเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ มีความจำเป็นที่จะต้องจ้างบริการ โดยใช้เครื่องมือสืบค้น และคัดกรองข่าวสารในประเด็นที่เกี่ยวข้องกับภาพลักษณ์และการดำเนินงานต่างๆ ที่อยู่ภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงการคลัง โดยรวบรวมข้อมูลทั้งในเชิงบวก เชิงลบ และข้อมูลข่าวสารโดยทั่วไปที่ได้นำเสนอผ่านช่องทางการสื่อสารออนไลน์ หรือเครือข่ายสังคมออนไลน์ แล้วนำมาสรุปวิเคราะห์ประเด็นที่เกี่ยวข้องเพื่อรายงานกับผู้บริหารกระทรวงการคลังได้รับทราบต่อไป 1.0 กำหนดขอบเขตและศึกษาความต้องการข้อมูลโซเชียลมีเดียที่เกี่ยวข้อง 2.0 วิเคราะห์ความต้องการและออกแบบฐานข้อมูลกลางโซเชียลมีเดียของกระทรวงการคลัง 3.0 ติดตั้งฐานข้อมูลกลางของกระทรวงการคลังเพื่อรองรับข้อมูลจากสื่อโซเชียลมีเดีย 4.0 พัฒนาและนำเข้าฐานข้อมูลกลางโซเชียลมีเดียของกระทรวงการคลัง 5 จัดทำรายงานแสดงผลข้อมูลโซเชียลมีเดีย ในลักษณะของแดชบอร์ด (Dashboard) เสนอต่อผู้บริหาร - ไม่มี 5 - - - การเช่าบริการสื่อดิจิทัลด้านข้อมูลเศรษฐกิจการเงินการคลัง y 1 ดำเนินการจัดประชุมเพื่อกำหนดขอบเขตการพัฒนาและศึกษาความต้องการฐานข้อมูลโซเชียลมีเดียที่เกี่ยวข้องกับนโยบาย และการดำเนินงานตามภารกิจของกระทรวงการคลัง โดยเลือกโปรแกรม Talkwalker ซึ่งเป็นโปรแกรม Social Media Analytics & Monitoring ที่สามารถเลือกเก็บข้อมูลโซเชียลมีเดียได้หลากหลาย และแสดงรายงานได้ตามที่ต้องการ 1 0.0 y 17 2563 2 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรมได้ตามเป้าหมาย ศทส.1/2 2 5 1 เพิ่มทักษะความรู้ ความสามารถ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล 10 ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจการเงินการคลังของประเทศ จำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพ ตลอดจนสนับสนุนในการก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทุกมิติ 70.0 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 90.0 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 110.0 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 130.0 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม 150 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการอบรม ขึ้นอยู่กับงบประมาณที่ได้รับและค่าใช้จ่ายในแต่ละหลักสูตร จำนวนคน 150 381 คน - - สถิติบุคลากรในสังกัดกระทรวงการคลังที่รับการอบรมหลักสูตรด้านดิจิทัล y 0 วางแผนการการฝีกอบรม 1 0.1 y 18 2563 2 ระดับความสำเร็จการในการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่(New GFMIS Thai) ศทส.1/3.1 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 10 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทำโครงการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ที่ใช้งานอยู่ในปัจจุบัน โดยดำเนินการปรับปรุงระบบการประมวลผลข้อมูลให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น มีความยีดหยุ่น รองรับการขยายตัวในอนาคตและการพัฒนาระบบการเชื่อมต่อกับระบบภายนอกให้สอดคล้องกับกระบวนการปัจจุบัน 1.0 การออกแบบการทำงานในรายละเอียด (Detailed Functional) 2.0 การออกแบบสถาปัตยกรรมระบบงาน (Hardware Design) 3.0 การออกแบบการทำงานในส่วนของการเชื่อมโยงข้อมูล (Data Integration Management) 4.0 การจัดทำแผนการทดสอบระบบงาน (Testing Plan) 5 ผลการทดสอบระบบงาน (Testing Result) - ระดับ 5 - - - ส่วนพัฒนาระบบงานประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ y 1 การออกแบบการทำงานในรายละเอียด (Detailed Function) 1 0.1 y 19 2563 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการโครงการพัฒนาระบบสารสนเทศการเงินการคลังเพื่อรองรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ศทส.1/3.2 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 8 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลังมีนโยบายที่จะพัฒนาระบบสารสนเทศการเงินการคลังเพื่อรองรับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อบจ. และเทศบาล) ในฐานะหน่วยรับงบประมาณ ที่ได้รับงบประมาณโดยตรงจากสำนักงบประมาณเช่นเดียวกับหน่วยงานระดับกรม 1.0 ขออนุมัติดำเนินงานโครงการ 2.0 แต่งตั้งคณะกรรมการ ฯ 3.0 จัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) 4.0 จัดทำราคากลาง 5 ดำเนินการจัดซื้อจ้ดจ้าง - ระดับ 5 - - - ส่วนพัฒนาระบบงานประมวลผลข้อมูลสารสนเทศ y 1 ขออนุมัติดำเนินโครงการ 1 0.0 y 20 2563 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินตามโครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศและระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของศูนย์คอมพิวเตอร์แห่งใหม่ เพื่อรองรับระบบ New GFMIS Thai ศทส.1/3.3 3 2 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 7 โครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลของศูนย์คอมพิวเตอร์แห่งใหม่ เพื่อรองรับการเป็นศูนย์คอมพิวเตอร์สำรองของระบบ New GFMIS Thai ซึ่งในโครงการฯ จะมีการปรับปรุงห้องเครื่องคอมพิวเตอร์หลักภายในศูนย์คอมพิวเตอร์แห่งใหม่ของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังที่จังหวัดปทุมธานี จำนวน 1 ห้อง โดยมีการติดตั้งระบบไฟฟ้า ระบบปรับอากาศ และระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล ให้มีความพร้อมใช้งานสำหรับรองรับการติดตั้งระบบคอมพิวเตอร์สำรองของการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) 1.0 ระดับความสำเร็จในการจัดทำร่างขอบเขตของงานพร้อมราคากลาง, รายงานขอซื้อขอจ้างและเผยแพร่ประชาวิจารณ์ และประกาศเชิญชวนให้ผู้เสนอราคาเสนอราคาผ่านระบบ e-gp ของกรมบัญชีกลางแล้วเสร็จ 2.0 ระดับความสำเร็จในการลงนามในสัญญาแล้วเสร็จ 3.0 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบแผนการดำเนินงานในโครงการแล้วเสร็จ 4.0 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบแผนการฝึกอบรมแล้วเสร็จ 5 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบร่างแผนผังระบบเครือข่าย (Network Diagram) สำหรับตั้งอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูลตามโครงการแล้วเสร็จ เหตุจากปัจจัยภายนอกที่ทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างมีความล่าช้า เช่น การวิจารณ์ร่างขอบเขตของงาน , การยื่นอุทธรณ์ เป็นต้น ระดับผลลัพธ์ 5 - - - เอกสารหรือหนังสือที่เกี่ยวข้องกับรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาซื้อหรือจ้างงานในโครงการ เอกสารการส่งมอบและการตรวจรับงาน y 0 อยู่ในระหว่างการดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 1 0.0 y 21 2566 2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาการเชื่อมโยงระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่กับระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (GF-eLAAS) ศทส.1/1.1 1 1 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 5 สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้จัดทำโครงการจัดทำระบบการเชื่อมโยงระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) กับระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) เพื่อจัดทำและพัฒนาระบบการเชื่อมโยงระหว่างระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) กับระบบบัญชีคอมพิวเตอร์ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (e-LAAS) ผ่านแพลตฟอร์มกลาง และเกิดการบูรณาการข้อมูลระหว่างระบบ New GFMIS Thai กับระบบ e-LAAS และลดความซ้ำซ้อนของการบันทึกข้อมูล ปรับปรุงประสิทธิภาพระบบ New GFMIS Thai ด้านการรักษาความมั่นคงปลอดภัยข้อมูล และรองรับผู้ใช้งานที่เพิ่มมากขึ้น (7,000 หน่วยงาน) 1 การอนุมัติ และจัดทำโครงการ 2 แต่งตั้งคณะกรรมการของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 3 จัดทำร่างขอบเขตของงาน (TOR) 4 ประกาศผู้ชนะการเสนอราคา 5 ลงนามในสัญญา / จัดทำแผนการดำเนินงานโครงการ ระดับ 5 - y 2 แต่งตั้งคณะกรรมการของกระบวนการจัดซื้อจัดจ้าง 2 0.1 n 22 2566 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำโครงการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการและจัดทำร่างข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai Enhancement) ศทส.1/1.2 1 1 1 เพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS) 5 ระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai)ได้เริ่มใช้งานเต็มรูปแบบเมื่อวันที่ 4 เมษายน 2565 ซึ่งจากการนำระบบขึ้นใช้งาน จำเป็นต้องประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบงาน New GFMIS Thai ทั้ง Hardware Software Tool และโปรแกรมระบบงาน (Application Software) และการประเมินผลการใช้งานสำหรับผู้ใช้ทั้งส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมถึงการศึกษาวิเคราะห์หาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเพิ่มเติม (System Enhancement)การปรับปรุงหรือลดขั้นตอนการปฏิบัติ เพิ่มประสิทธิภาพฟังก์ชันและการจัดทำรายงาน เพิ่มสมรรถนะการประมวลผล การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อยกระดับการเข้าใช้บริการระบบฯ ของผู้ใช้งานทั้งที่เป็นส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ผู้บริหาร และผู้มีส่วนได้เสียให้สามารถทำงานได้รวดเร็ว มีผลิตผลมากขึ้น และต่อยอดการปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น ดังนั้น เพื่อให้การเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai Enhancement) สามารถบรรลุตามวัตถุประสงค์และเป้าหมายรัฐสามารถมีข้อมูลแสดงฐานะการเงินการคลังของประเทศในภาพรวม รวมถึงการมีข้อมูลการเงินรวมขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นได้อย่างครบถ้วนสมบูรณ์ เป็นไปตามหลักวิชาการ ภายใต้กรอบเวลาการบริหารการเงินการคลังที่กำหนด กระทรวงการคลังจึงมีความประสงค์ที่ต้องการจ้างที่ปรึกษา เพื่อดำเนินการประเมินประสิทธิภาพ และประสิทธิผลของระบบงาน New GFMIS Thai ที่ให้บริการ ณ ปัจจุบัน และรวมถึงและการประเมินผลการใช้งานสำหรับผู้ใช้ทั้งส่วนราชการและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และศึกษาวิเคราะห์หาแนวทางในการเพิ่มประสิทธิภาพระบบเพิ่มเติม (System Enhancement) ทั้งในเรื่องการปรับปรุงหรือลดขั้นตอนการปฏิบัติเพิ่มประสิทธิภาพฟังก์ชันและการจัดทำรายงาน เพิ่มสมรรถนะการประมวลผล การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีปัญญาประดิษฐ์ เพื่อยกระดับการเข้าใช้บริการระบบฯ ของผู้ใช้งานทั้งที่เป็นส่วนราชการ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติ ผู้บริหาร และผู้มีส่วนได้เสียให้สามารถทำงานได้รวดเร็ว มีผลิตผลมากขึ้น และต่อยอดการปฏิบัติงานได้ดียิ่งขึ้น ตามโครงการศึกษาและวิเคราะห์ความต้องการ และจัดทำร่างข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai Enhancement) 1 รายงานสรุปผลการดำเนินงานการประเมินความเสี่ยงและการตรวจสอบด้านความมั่นคงปลอดภัยไซเบอร์ 2 รายงานสถานภาพปัจจุบันของงานระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) 3 รายงานการวิเคราะห์และกำหนดความต้องการการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai Enhancement) 4 ร่างข้อกำหนดคุณลักษณะเฉพาะสำหรับการเพิ่มประสิทธิภาพระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai Enhancement) 5 รายงานสรุปข้อเสนอแนะแนวทางการปรับปรุงโครงสร้างการบริหารและการกำกับดูแลการปฏิบัติงานระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) ระดับ 5 - y 2 รายงานสถานภาพปัจจุบันของงานระบบบริหารการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ใหม่ (New GFMIS Thai) 2 0.1 n 23 2565 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 ศทส.2/1 1 1 2 ให้บริการระบบงานและข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย 10 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 78.64 74 78.8 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 24 2564 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 - 1 1 2 - 10 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 74 78.8 73.64 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 25 2564 2 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราการใช้บริการเว็บไซต์กระทรวงการคลัง ศทส.2/1.1 3 3 2 ให้บริการระบบงานและข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย 5 "เว็บไซต์กระทรวงการคลัง เป็นศูนย์รวมข้อมูลข่าวสาร เผยแพร่สารสนเทศและบริการอิเล็กทรอนิกส์ของกระทรวงการคลังซึ่งประชาชนทุกคน ทุกกลุ่ม สามารถเข้าถึงได้อย่างทั่วถึงและเท่าเทียม ผ่านทางช่องทางเว็บไซต์ www.mof.go.th ทั้งนี้พิจารณาจากจำนวนการเปิดเข้าชม (Sessions) ซึ่ง 1 User สามารถมีได้หลาย Session (ผู้ใช้ 1 คนเข้าเว็บไซต์ได้หลายครั้ง) โดยเทียบกับปีที่ผ่านมา *Session คือ ช่วงเวลาตั้งแต่ ผู้ใช้รายหนึ่งเข้ามาที่เว็บ จนถึง ออกจากเว็บไซต์ โดยที่นิยามการออกจากเว็บคือ หายออกไปเกินกว่า 20นาที หรือปิด บราวเซอร์ไป ดังนั้น Session จะบวก 1 ทุก ๆ การออกไปจากเว็บ เกินกว่า 20 นาที หรือ ปิดบราวเซอร์ จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลัง - ปีที่ผ่านมา /951,049 x 100" 2 -จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลังเพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 4 -จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลังเพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 4 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 6 -จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลังเพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 6 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 8 -จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลังเพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 8 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 10 -จำนวนการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลังเพิ่มขึ้นมากกว่าหรือเท่ากับร้อยละ 10 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา - จำนวนครั้งการเปิดเข้าชมเว็บไซต์กระทรวงการคลัง 951049 864590 79262 - เว็บไซต์กระทรวงการคลัง y 0 0 0 y 26 2563 2 ระดับความสำเร็จของการพัฒนา/ปรับปรุงสารสนเทศบนเว็บไซต์กระทรวงการคลัง ศทส.2/1.1 3 3 2 ให้บริการระบบงานและข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย 5 ระบบสารสนเทศ เป็นทุนขององค์การที่รวมถึงสารสนเทศ (Information) ความรู้ (Knowledge) และเทคโนโลยี เพื่อสนับสนุนกระบวนการหลักขององค์การ การพัฒนาทุนสารสนเทศให้มีคุณค่าและทันสมัย มีความต่อเนื่องทันเหตุการณ์ และสามารถใช้สารสนเทศให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยการนำข้อมูลเข้า ผ่านระบบการประมวลผล คำนวณ วิเคราะห์และแปลความหมายเป็นข้อความที่สามารถนำไปใช้ประโยชน์ได้ จะช่วยให้องค์การสามารถนำข้อมูลมาตัดสินใจแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นได้อย่างถูกต้อง แม่นยำ และรวดเร็ว ทันเวลากับสถานการณ์ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้อย่างเหมาะสม ดังนั้น สารสนเทศจึงเป็นโครงสร้างพื้นฐานที่สำคัญขององค์การ ไม่ว่าจะเป็นด้านข้อมูล ระบบ และเครือข่าย ที่จะสามารถส่งเสริมให้คนในองค์การมีศักยภาพเพิ่มขึ้น และสามารถปฏิบัติงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ 1.0 จัดตั้งคณะกรรมการหรือคณะทำงานเพื่อขับเคลื่อนการดำเนินงานฯ 2.0 ศึกษา/กำหนดมาตรฐานหลักเกณฑ์ในการพัฒนาระบบสารสนเทศ 3.0 พัฒนา/ปรับปรุงระบบสารสนเทศของกระทรวงการคลัง 4.0 ประชาสัมพันธ์ให้หน่วยงานในสังกัดที่เกี่ยวข้องใช้งานระบบสารสนเทศ 5 หน่วยงานภายในสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังมีระบบบริหารจัดการสารสนเทศผ่านระบบอินเทอร์เน็ตใช้งาน - จำนวนหน่วยงานที่เข้าใช้งานระบบสารสนเทศ 5 - - - เว็บไซต์กระทรวงการคลังและเว็บไซต์ภายใต้สังกัดกระทรวงการคลัง y 5 ดำเนินการได้ตามเป้าหมาย 5 0.2 y 27 2563 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ศทส.2/1.2 1 2 2 ให้บริการระบบงานและข่าวสารที่ถูกต้อง รวดเร็ว และทันสมัย 5 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68.0 - 71.0 - 74.0 - 77.0 - 80 - - ร้อยละ 80 78.8 73.64 - ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 y 28 2566 2 ร้อยละความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 - 1 1 2 - 15 กลุ่มพัฒนาระบบบริหาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ได้ดำเนินการสำรวจความพึงพอใจของผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลังและสำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงการคลัง ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 เพื่อนำข้อมูลมาประกอบการพิจารณาปรับปรุง พัฒนาการให้บริการและการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น 68 - 71 - 74 - 77 - 80 - - ร้อยละ 80 84.7 78.64 74 ส่วนราชการและรัฐวิสาหกิจในสังกัดกระทรวงการคลัง ประชาชน และสื่อมวลชน y 0 0 0 n 29 2565 2 ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของอัตราการเข้าใช้บริการเว็บไซต์ข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง ศทส.3/1 3 3 3 การให้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์อย่างต่อเนื่อง 30 จำนวนการเข้าใช้บริการเว็บไซต์ หมายถึง จำนวนผู้ใช้งานเข้าใช้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลังในช่วงระยะเวลา วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2 - 4 - 6 - 8 - 10 - จำนวนผู้ใช้งานเข้าใช้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลังในช่วงระยะเวลา วันที่ 1 ตุลาคม 2564 – 30 กันยายน 2565 เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา ร้อยละ 10 - - - เว็บไซต์ข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง https://dataservices.mof.go.th/ y 4 จำนวนผู้ใช้งานเข้าใช้บริการข้อมูลผ่านเว็บไซต์ข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลังในช่วงระยะเวลา เมื่อเทียบกับปีที่ผ่านมา 2 0.6 y 30 2564 2 ร้อยละของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี ศทส.3/1.1 3 3 3 การให้บริการอย่างต่อเนื่อง 10 การดำเนินการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ GFMIS เป็นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบ GFMIS หลัก GFMIS-SOE GFMIS-TR GSMS GFMIS-Web Online และ PFMS ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบเครือข่ายสื่อสาร การจัดหาสถานที่ตั้งสำหรับศูนย์คอมพิวเตอร์หลักและศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบควบคุมการเข้าออกอาคาร การจัดหาบุคลากรในการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ และดำเนินการบำรุงรักษาทั้งด้าน Hardware และ Software โดยไม่รวมถึงการแก้ไขหรือพัฒนาเพิ่มเติมในฟังก์ชั่นการทำงานใหม่ และ SAP Module ใหม่ 1.4 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.3 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.2 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี เฉพาะในวัน เวลาราชการ 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. เท่านั้น ร้อยละ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 รายงานผลการดำเนินงาน y 1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 5 0.5 y 31 2564 2 ระดับความสำเร็จของการติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเหตุปัญหาด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ศทส.3/1.2 3 4 3 การให้บริการอย่างต่อเนื่อง 10 การติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเหตุปัญหาด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโดยใช้ระบบ Application Monitoring มาใช้ตรวจสอบเฝ้าระวังระบบต่างๆ แบบอัตโนมัติ และมีการนำเอาแอพพลิเคชั่น Line Official ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความคุ้นเคย และใช้งานเป็นประจำอยู่แล้ว มาเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการรับแจ้งปัญหา ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถแจ้งปัญหาได้อย่างชัดเจน ง่าย สะดวก รวดเร็ว มากยิ่งขึ้น 1 มีการศึกษากรอบการทำงาน วิเคราะห์และออกแบบระบบ 2 มีการพัฒนากระบวนงานสำหรับการติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเหตุปัญหา 3 มีการพัฒนาระบบตรวจสอบและเฝ้าระบบแบบอัตโนมัติ 4 มีการพัฒนากลุ่ม Line สำหรับการแจ้งปัญหา 5 มีการจัดทำรายงานเหตุปัญหา ระดับความสำเร็จ 5 - - - รายงาน/เอกสาร y 5 "1. ดำเนินการศึกษากรอบการทำงาน วิเคราะห์และออกแบบระบบ โดยพิจารณากรอบการทำงาน ครอบคลุมระบบงานเทคโนโลยีสารเทศที่สำคัญของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง และดำเนินการวิเคราะห์และออกแบบ ทั้งในส่วน ฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์เครื่องมือ กระบวนงาน บุคลากรที่เกี่ยวข้อง 2. พัฒนากระบวนงานสำหรับการติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเหตุปัญหา เช่น ขั้นตอนของผู้ปฏิบัติงานในการเฝ้าระวัง และแจ้งเหตุปัญหาไปยังผู้ดูแลระบบงาน กำหนดรูปแบบและเงื่อนไขการแจ้งปัญหา การให้ความรู้ความเข้าใจในกระบวนงานแก่ผู้ที่เกี่ยวข้อง เป็นต้น 3. พัฒนาระบบตรวจสอบและเฝ้าระบบแบบอัตโนมัติ โดยการพัฒนาระบบ Application Monitoring ผ่านเครื่องมือ ManageEngine Application Manager ที่มีการเชื่อมโยงไปยังระบบงานเทคโนโลยีสารเทศที่สำคัญของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง เพื่อให้สามารถตรวจสอบเฝ้าระวังระบบงานดังกล่าว ได้ในแบบอัตโนมัติ 4. พัฒนากลุ่ม Line MOF Incident Report เพื่อเป็นช่องทางในการแจ้งปัญหาไปยังผู้รับผิดชอบดูแลระบบงานเทคโนโลยีสารเทศที่สำคัญของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง และเชิญผู้ที่เกี่ยวข้องเข้าร่วมกลุ่ม 5. ดำเนินการติดตามเฝ้าระวังและแจ้งเหตุปัญหาด้านระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่สำคัญของสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง และจัดทำรายงานสรุปเหตุปัญหา เป็นรายเดือน" 5 0.5 y 32 2564 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินการโครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายไร้สาย กระทรวงการคลัง (MOF WiFi) ศทส.3/2 1 4 3 การใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 5 โครงการปรับปรุงระบบเครือข่ายไร้สาย กระทรวงการคลัง (MOF WiFi) เพื่อดำเนินการติดตั้งและปรับปรุงระบบเครือข่ายไร้สายของกระทรวงการคลัง ให้ครอบคลุมพื้นที่ภายในอาคารสำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง อาคารศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร และอาคารเอนกประสงค์ เพื่อให้บริการแก่บุคลากรทุกหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่ดังกล่าว รวมถึงประชาชนที่มาติดต่อราชการ ให้สามารถเข้าใช้งานระบบเครือข่ายได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อเนื่องและยังรองรับการใช้งานร่วมกับอุปกรณ์เคลื่อนที่ (Mobile Device) และอุปกรณ์เชื่อมต่อเทคโนโลยีรุ่นใหม่ด้วย 1 ระดับความสำเร็จในการจัดซื้อจัดจ้างและการลงนามในสัญญาแล้วเสร็จ 2 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบแผนการดำเนินงานในโครงการแล้วเสร็จ 3 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบแผนการฝึกอบรมแล้วเสร็จ 4 ระดับความสำเร็จในการร่างแผนผังระบบเครือข่าย (Network Diagram) และร่างแผนผังแสดงอุปกรณ์ใน Rack (Rack Layout) แล้วเสร็จ 5 ระดับความสำเร็จในการส่งมอบอุปกรณ์ระบบเครือข่ายสื่อสารข้อมูล (รายการตามภาคผนวก 1 ข้อ 2.1 ถึงข้อ 2.9) เข้าพื้นที่แล้วเสร็จ "1. เหตุจากปัจจัยภายนอกที่ทำให้กระบวนการจัดซื้อจัดจ้างมีความล่าช้า เช่น การวิจารณ์ร่างขอบเขตของงาน , การยื่นอุทธรณ์ เป็นต้น 2. เหตุสุดวิสัยอื่นๆ เช่น ผลกระทบจากการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (Covid 19) ซึ่งหากผู้ชนะการประกวดราคา/ผู้ขาย/ผู้รับจ้าง ที่สั่งสินค้าจากต่างประเทศ อาจได้รับผลกระทบจากสายการผลิตหรือการขนส่งสินค้า ทำให้การส่งมอบอุปกรณ์ในโครงการล่าช้า เป็นต้น" ระดับผลลัพธ์ 5 - - - หนังสือหรือเอกสารที่เกี่ยวข้องกับรายงานการจัดซื้อจัดจ้าง สัญญาซื้อหรือจ้างงานในโครงการ เอกสารการส่งมอบและการตรวจรับงาน y 0 0 0 y 33 2564 2 ระดับความสำเร็จในการพัฒนาระบบข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง ศทส.3/3 1 1 3 เพิ่มประสิทธิภาพการปฎิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 ตาม พ.ร.บ.การบริหารงานและการให้บริการภาครัฐผ่านระบบดิจิทัล พ.ศ. 2562 กำหนดให้หน่วยงานของรัฐมีการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนและการนำข้อมูลไปใช้ของหน่วยงานภาครัฐ ถูกต้อง ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน คุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล และสามารถเชื่อมโยงกันได้อย่างมีประสิทธิภาพและมั่นคงปลอดภัย ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานปลัดกระทรวงการคลัง ดำเนินการจัดทำข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง ให้มีบริการข้อมูลด้านเศรษฐกิจการเงินการคลัง เพื่อประโยชน์ในการอำนวยความสะดวกแก่ประชาชน และหน่วยงานภาครัฐให้สามารถค้นหาและเข้าถึงข้อมูลของภาครัฐได้ง่าย 1 สำรวจข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 2 วิเคราะห์และออกแบบชุดข้อมูลที่จะทำรายงานข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง 3 พัฒนาระบบข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง 4 นำข้อมูลเข้าสู่ฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง และทดสอบระบบ 5 จัดทำรายงานข้อมูลเปิดเผยของกระทรวงการคลัง - ระดับ 5 - - - ฐานข้อมูลกลางของกระทรวงการคลัง y 1 สำรวจข้อมูลในฐานข้อมูลกลางกระทรวงการคลัง 1 0.05 y 34 2563 2 ระดับความสำเร็จในการดำเนินตามโครงการการบูรณาการระบบคอมพิวเตอร์ของกระทรวงการคลัง ศทส.3/2 3 4 3 การใช้ทรัพยากรเทคโนโลยีร่วมกันได้อย่างมีประสิทธิภาพ 10 ดำเนินการบูรณาการระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายของกระทรวงการคลังในส่วนที่หน่วยงานในสังกัดต้องมีการลงทุนในลักษณะที่เหมือนกันมาดำเนินการจัดหาและติดตั้งเพื่อใช้งานร่วมกันที่กระทรวงการคลัง และนำเอานวัตกรรมและเทคโนโลยีดิจิทัลที่ทันสมัยมาช่วยในการบริหารจัดการทรัพยากรระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายให้หน่วยงานในสังกัดใช้งานตามความจำเป็นการใช้งาน ซึ่งจะทำให้สามารถใช้งานระบบเครื่องคอมพิวเตอร์แม่ข่ายได้เต็มประสิทธิภาพ คล่องตัว และเทียบได้กับมาตรฐานสากล มีความคุ้มค่า ช่วยประหยัดงบประมาณการจัดซื้อและบำรุงรักษาในระยะยาว รวมถึงลดปัญหาการขาดแคลนบุคลากรภาครัฐที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญในการดูแลระบบ 1.0 ขออนุมัติในหลักการดำเนินการโครงการ 2.0 ดำเนินการจัดซื้อจัดจ้าง 3.0 กำหนดแผนการดำเนินงาน 4.0 สรุปข้อกำหนดความต้องการ 5 ดำเนินการวิเคราะห์และออกแบบระบบ - ระดับความสำเร็จ 5 - - - - y 1 - จัดทำเอกสารประกอบการขออนุมัติในหลักการดำเนินการโครงการ 1 0.1 y 35 2563 2 ร้อยละของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี ศทส.3/1.1 3 3 3 การให้บริการอย่างต่อเนื่อง 10 การดำเนินการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ GFMIS เป็นการปฏิบัติงาน การบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบ GFMIS หลัก GFMIS-SOE GFMIS-TR GSMS GFMIS-Web Online และ PFMS ทั้งในส่วนกลางและส่วนภูมิภาค เพื่อให้สามารถทำงานได้อย่างต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ ครอบคลุมถึงการบริหารจัดการและควบคุมดูแลระบบเครือข่ายสื่อสาร การจัดหาสถานที่ตั้งสำหรับศูนย์คอมพิวเตอร์หลักและศูนย์คอมพิวเตอร์สำรอง ระบบรักษาความปลอดภัย ระบบควบคุมการเข้าออกอาคาร การจัดหาบุคลากรในการปฏิบัติงานและบำรุงรักษาระบบ และดำเนินการบำรุงรักษาทั้งด้าน Hardware และ Software โดยไม่รวมถึงการแก้ไขหรือพัฒนาเพิ่มเติมในฟังก์ชั่นการทำงานใหม่ และ SAP Module ใหม่ 1.4 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.3 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.2 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1.1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี 1 ของเวลาที่ระบบ GFMIS ไม่สามารถให้บริการได้ (Unplanned downtime) ภายใน 1 ปี เฉพาะในวัน เวลาราชการ 08.30 - 12.00 น. และ 13.00 - 16.30 น. เท่านั้น ร้อยละ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 ระดับ 5 รายงานผลการดำเนินงาน y 1 ไม่เกิดการ downtime โดยไม่มีการ Plan ไว้ 5 0.5 y 36 2563 2 ระดับความสำเร็จในการจัดทำช่องทางการรับแจ้งปัญหา ที่เกี่ยวข้องกับการซ่อมแซมแก้ไขเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ โดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official ศทส.3/1.2 3 3 3 การให้บริการอย่างต่อเนื่อง 10 เพิ่มช่องทางในการับแจ้งปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการซ่อมแซมแก้ไขเครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เสริมร่วมกับช่องทางเดิมผ่านทางระบบโทรศัพท์ในปัจจุบัน โดยมีการนำเอาแอพพลิเคชั่น Line Official ที่ผู้ใช้ส่วนใหญ่มีความคุ้นเคย และใช้งานเป็นประจำอยู่แล้ว มาเป็นอีกช่องทางหนึ่งในการรับแจ้งปัญหา ซึ่งจะช่วยให้ผู้ใช้งานสามารถแจ้งปัญหาได้อย่างชัดเจน ง่าย สะดวก รวดเร็ว มากยิ่งขึ้น 1.0 ออกแบบกระบวนการรับแจ้งปัญหา โดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official 2.0 จัดทำช่องทางรับแจ้งปัญหาออนไลน์ และทดลองใช้งานภายใน ศทส. 3.0 จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Info Graphic / QR Code / เสียงตามสาย การรับแจ้งปัญหาโดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official เพื่อประชาสัมพันธ์ภายใน สป.กค./สร. 4.0 รับแจ้งปัญหาโดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official ภายใน สป.กค. และ สร. 5 ดำเนินการแก้ไข ประสานงาน และเก็บข้อมูลทางสถิติ - ระดับความสำเร็จ 5 - - - - y 4 - ดำเนินการลงทะเบียนเพื่อใช้งานระบบ Line Official Account - ออกแบบกระบวนการ (Workflow) การรับแจ้งปัญหา ผ่านแอพพลิเคชั่น Line Official Account รวมถึงช่องทางการประสานงาน ทั้งในส่วนของ Helpdesk และผู้ดูแลระบบ - จัดทำช่องทางรับแจ้งปัญหาออนไลน์ และทดลองใช้งานภายใน ศทส. - จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์ Info Graphic / QR Code / เสียงตามสาย การรับแจ้งปัญหาโดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official Account เพื่อประชาสัมพันธ์ภายใน สป.กค./สร. - รับแจ้งปัญหาโดยใช้แอพพลิเคชั่น Line Official Account ภายใน สป.กค. และ สร. 4 0.4 y 37 2563 2 ร้อยละความสำเร็จของการตอบสนองต่อการให้บริการของการจองรถยนต์ของ ศทส. ศทส.3/3 3 2 3 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 5 เนื่องจากปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ ได้มีการพัฒนาระบบการจองรถยนต์ผ่านทางระบบอิเล็กทรอนิกส์เข้ามาใช้ในองค์กร เพื่อเป็นการพัฒนาบุคลากรและเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานให้มีประสิทธิภาพ ถูกต้อง และสะดวกรวดเร็ว ต่อการให้บริการ ตลอดจนสนับสนุนในการก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทุกมิติ 40.0 สามารถตอบสนองผู้ใช้บริการได้ภายใน 3 ชั่วโมง 50.0 สามารถตอบสนองผู้ใช้บริการได้ภายใน 3 ชั่วโมง 60.0 สามารถตอบสนองผู้ใช้บริการได้ภายใน 3 ชั่วโมง 70.0 สามารถตอบสนองผู้ใช้บริการได้ภายใน 3 ชั่วโมง 80 สามารถตอบสนองผู้ใช้บริการได้ภายใน 3 ชั่วโมง - - 80 - - - - y 70 เก็บสถิติจากการขอใช้รถยนต์ผ่านทางระบบการจองรถยนต์ทางอิเล็กทรอนิกส์ของ ศทส. 4 0.2 y 38 2566 2 ร้อยละของการลดปริมาณกระดาษในการจัดประชุมคณะกรรมการคอมพิวเตอร์กระทรวงการคลังโดยใช้ระบบ Paperless Meeting ศทส. 3/1 1 1 3 เพิ่มประสิทธิภาพการปฏิบัติงานด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล 30 ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ได้มีการจัดการประชุมคณะกรรมการคอมพิวเตอร์กระทรวงการคลังเพื่อพิจารณาโครงการจัดหาระบบคอมพิวเตอร์ให้กับหน่วยงานในสังกัดกระทรวงการคลัง เพื่อขอรับจัดสรรงบประมาณเป็นประจำทุกปี ซึ่งในแต่ละปีงบประมาณจะมีจำนวนโครงการเข้ารับการพิจารณามากกว่า 20 โครงการ ทำให้มีการใช้ปริมาณกระดาษในการจัดทำเอกสารเป็นจำนวนมาก ศทส.จีงนำระบบ Paperless Meeting มาใช้งานเพื่อลดภาระการจัดทำเอกสาร และลดจำนวนการใช้งานกระดาษลง 75 - 80 - 85 - 90 - 95 - ร้อยละ 95 - y 95 จำนวนกระดาษลดลงร้อยละ 95 5 1.5 n 39 2565 2 ร้อยละของข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างชั่วคราว ที่เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจง อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ ศทส.4/1 2 5 4 เพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ 10 การพัฒนาบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในด้านต่างๆ โดยให้บุคลากรในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถอบรม/สัมมนา/ประชุม ในรูปแบบออฟไลน์หรือออนไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ 40 - 50 - 60 - 70 - 80 - การอบรม/สัมมนา ออนไลน์ ให้แนบหลักฐานประกอบการเรียน เช่น ประกาศนียบัตร/ผลการประเมินหลังการเรียน หรืออื่นใดที่แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนได้เรียนรู้ครบถ้วนตามหลักสูตรแล้ว ร้อยละ 80 - - - รายชื่อผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนา/ประชุม แต่ละหลักสูตร y 0 จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจง จำนวน 11 คน 1 0.1 y 40 2564 2 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ ศทส.4/1 2 5 4 เพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ 5 การพัฒนาบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในด้านต่างๆ โดยให้บุคลากรในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถอบรม/สัมมนา/ประชุม ในรูปแบบออฟไลน์หรือออนไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปีงบประมาณ 20 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง 25 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง 30 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง 35 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง 40 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง การอบรม/สัมมนา ออนไลน์ ให้แนบหลักฐานประกอบการเรียน เช่น ประกาศนียบัตร/ผลการประเมินหลังการเรียน หรืออื่นใดที่แสดงให้เห็นว่า ผู้เรียนได้เรียนรู้ครบถ้วนตามหลักสูตรแล้ว จำนวนคน 40 - - - รายชื่อผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนา/ประชุม แต่ละหลักสูตร y 20 จำนวนบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุม อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยดำเนินการฝึกอบรมในรูปแบบ online และ อบรมนอกสถานที่ 1 0.05 y 41 2563 2 ร้อยละของบุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตรต่อปีงบประมาณ ศทส.4/1 2 5 4 เพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ 5 ปัจจุบันความก้าวหน้าทางเทคโนโลยีมีบทบาทสำคัญในการปฏิบัติงานของบุคลากรเป็นอย่างยิ่ง กระทรวงการคลังในฐานะหน่วยงานหลักที่มีบทบาทสำคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ จำเป็นต้องมีการพัฒนาบุคลากรให้มีความรู้ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการปฏิบัติงานและการให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ สะดวก รวดเร็ว ตลอดจนสนับสนุนในการก้าวไปสู่รัฐบาลอิเล็กทรอนิกส์ทุกมิติ 60.0 บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตร 65.0 บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตร 70.0 บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตร 75.0 บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตร 80 บุคลากรที่เข้ารับการฝึกอบรม/สัมมนา ไม่ต่ำกว่า 2 หลักสูตร - ร้อยละ 80 - - - รายชื่อผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนาแต่ละหลักสูตร y 75 เก็บสถิติจากข้อมูลรายชื่อผู้เข้ารับการฝึกอบรมแต่ละหลักสูตรของแต่ละบุคคล 4 0.2 y 42 2566 2 ร้อยละของข้าราชการ/พนักงานราชการ/ลูกจ้างชั่วคราว ที่เข้าร่วมการฝึกอบรม/สัมมนา/ประชุมเชิงปฏิบัติการ/ประชุมชี้แจง อย่างน้อย 1 ครั้ง ต่อปีงบประมาณ ศทส. 4/1 1 1 4 เพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ 15 การพัฒนาบุคลากรของศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อเพิ่มพูนทักษะความรู้ ความสามารถ รวมทั้งพัฒนาศักยภาพของบุคลากรในด้านต่างๆ โดยให้บุคลากรในศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สามารถอบรม/สัมมนา/ประชุม ในรูปแบบออฟไลน์หรือออนไลน์ อย่างน้อย 1 ครั้ง/ปีงบประมาณ 40 - 50 - 60 - 70 - 80 - ร้อยละ 80 80 - - รายชื่อผู้เข้ารับการอบรม/สัมมนา/ประชุม แต่ละหลักสูตร y 0 0 0 n